รับสร้างบ้าน เขียนแบบบ้าน โดยทีมงานมากความสามารถ
ใครว่าเรื่องกฎหมายอาคาร เป็นเรื่องยาก วันนี้เราจะให้ความรู้เกี่ยวกับ (7) กฎหมายอาคาร แบบเข้าใจง่าย สำหรับคนที่กำลังจะสร้างบ้าน แต่หากใครที่กังวลในเรื่องเหล่านี้ สามารถปรึกษาเราได้ โดยเรามีทีมงานมืออาชีพ ไม่ว่าจะเป็น วิศวกร สถาปนิก มัณฑนากร และบุคลากรด้านการก่อสร้าง
เราคือผู้ให้บริการและคำปรึกษา ด้านการออกแบบและควบคุมงานก่อสร้างแบบครบวงจร เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานตามหลักวิศวกร บริษัทของเรามีใบประกอบวิชาชีพถูกต้องตามกฎหมาย เชื่อถือได้ พร้อมประสบการณ์ในการทำงานกว่าหลายปี พร้อมส่งมอบงานตรงกำหนดเวลา ในราคาที่จับต้องได้ และที่สำคัญเราพร้อมที่จะดูแลลูกค้าก่อนและหลังการใช้บริการ
เพราะเราเชื่อว่า “บ้าน” คือ ความสุขของคุณและครอบครัวอย่างแท้จริง
ทางเรามุ่งมั่นตั้งใจ ที่จะให้บริการด้านการออกแบบและควบคุมงานก่อสร้าง ให้งานมีคุณภาพ และเสร็จสิ้นตามเวลาที่กำหนด แก่เจ้าของบ้าน เพราะฉะนั้นเรามาดูกันเลยดีกว่า ว่าข้อกำหนดในการสร้างที่ถูกกฎหมายมีอะไรบ้าง
1.สร้างบ้านเต็มพื้นที่ดินไม่ได้
สำหรับการสร้างที่อยู่อาศัย ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 อาคารอยู่อาศัย และอาคารอยู่อาศัยรวม ต้องมีที่ว่างไม่น้อยกว่า 30% ทำให้ตัวบ้านสามารถใช้พื้นที่ได้ 70% ของผืนที่ดินทั้งหมด แต่ตัวบ้านจะอยาด้านซ้าย ด้านขวา หรือด้านใดก็ได้ไม่มีข้อบังคับ เพียงแต่ต้องมีพื้นที่ว่างให้ครบตามที่กำหนด
ส่วนการสร้างทาวน์เฮาส์ต้องมีที่ว่างด้านหลัง 2 เมตร ด้าน หน้า 3 เมตร ดังนั้นทาวน์เฮาส์จึงไม่สามารถต่อเติมได้
2.เพดานห้องน้ำต้องสูงกว่า 2 เมตร
ห้องน้ำเป็นอีกห้องที่สำคัญไม่น้อยกว่าน้องนอนเพราะบางคนใช้เวลาในห้องน้ำเป็นเวลานาน และเป็นห้องที่ต้องใช้งานทุกๆ วัน กฎหมายจึงกำหนดให้เพดานห้องน้ำสูงไม่ต่ำกว่า 2 เมตร โดยเฉพาะบ้านที่มีการออกแบบห้องน้ำไว้ใต้บันใด ก็จำเป็นต้องคำนึงถึงส่วนนี้ด้วย
นี่ก็เป็น 5 เรื่องที่ควรรู้สำหรับคนที่กำลังออกแบบบ้านหรืออยากมีบ้านเป็นของตัวเองนะครับ แต่ใครที่อยากหมดกังวลในเรื่องเหล่านี้ ลองเลือกใช้บริษัทรับสร้างบ้านที่ได้มาตรฐาน อย่างบริษัทรับสร้างบ้านที่เป็นสมาชิกของสมาคมดูได้นะครับ
3.บันไดของบ้านต้องกว้างมากกว่า 80 เซนติเมตร
ขนาดบันไดบ้านตามกฎหมายกำหนด ข้อ 23 “บันไดของอาคารอยู่อาศัยถ้ามีต้องมีอย่างน้อยหนึ่งบันไดที่มีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร ช่วงหนึ่งสูงไม่เกิน 3 เมตร ลูกตั้งสูงไม่เกิน 20 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกว้างไม่ น้อยกว่า 22 เซนติเมตร และต้องมีพื้นหน้าบันไดมีความกว้างและยาวไม่น้อยกว่าความกว้างของบันได
บันไดที่สูงเกิน 3 เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วง 3 เมตร หรือน้อยกว่านั้น และชานพักบันไดต้องมีความกว้างและยาวไม่น้อยกว่าความกว้างของบันได ระยะดิ่งจากขั้นบันไดหรือชานพักบันไดถึงส่วนต่ำสุดของอาคารที่อยู่เหนือขึ้นไปต้องสูงไม่ น้อยกว่า 1.90 เมตร “
4.แต่ละห้องต้องมีหน้าต่างหรือช่องแสง
การกำหนดพื้นที่ใช้งานให้เป็นสัดส่วน ในการสร้างห้องแต่ละห้องภายในบ้านสำหรับทำกิจกรรมต่างๆในบ้าน ไม่ว่าจะเป็นห้องน้ำ ห้องครัว ห้องนอน หรือห้องเก็บของ จะต้องมีพื้นที่สำหรับระบายอากาศทั้งประตู หน้าต่าง ช่องแสง ช่องลม รวมกันแล้วไม่น้อยกว่า 10% ของพื้นที่ในห้องนั้นๆ หากจะสร้างห้องทึบไม่มีช่องระบายอากาศเลยหรือน้อยกว่า 10% ของพื้นที่ถือว่าผิดกฎหมายอาคารทันที
5.จะสร้างบ้านล้ำเข้าไปในถนนสาธารณะไม่ได้
คำว่า “การสร้างโรงเรือนรุกล้ำในที่ดินของผู้อื่น” หมายถึง การที่ผู้สร้างได้สร้างโรงเรือนส่วนน้อยในที่ดินของผู้อื่น ซึ่งจะแตกต่างจากการสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นทั้งหลัง เพราะว่าการสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นนั้น คือโรงเรือน ส่วนใหญ่จะอยู่ในที่ดินของคนอื่นถ้าคิดเป็นพื้นที่แล้วถ้าส่วนที่ รุกล้ำเท่ากับร้อยละ ๗๐ ของโรงเรือนที่อยู่ในที่ดินของคนอื่นก็จะถือว่า
เป็นการสร้างโรงเรือนในที่ดินของคนอื่นมากกว่าจะเป็นการรุกล้ำใน ที่ดินของผู้อื่น โดยในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะปัญหาการสร้างโรงเรือน รุกล้ำในที่ดินของผู้อื่นหรือการที่โรงเรือนส่วนน้อยอยู่ในที่ดิน ของคนอื่นซึ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๔ ทรัพย์สิน ลักษณะ ๒ มาตรา ๑๓๑๒ บัญญัติว่า
6.ห้องนอนต้องมีพื้นที่ใช้งานไม่น้อยกว่า8ตารางเมตร
การปลูกบ้านหรือต่อเติมพื้นที่ต่าง ๆ แล้ว คงหนีไม่พ้นที่จะพูดถึงเรื่องต่อเติมบ้านให้ถูกกฎหมาย เพื่อนำมาเป็นข้อมูลส่วนหนึ่งในการออกแบบและวางแปลนบ้านร่วมด้วย หลายคนอาจสงสัยว่าเราสามารถสร้างห้องนอนด้วยพื้นที่ตามใจได้หรือไม่
จริง ๆ แล้ว คำตอบของคำถามนี้มีสูตรสำเร็จตายตัวให้อยู่แล้ว หากอิงตามกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกความตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 หมวด 2 ส่วนที่ 2 ข้อ 20 และข้อ 22 ว่าด้วยเรื่องห้องนอนในอาคาร ระบุไว้ว่า
– ด้านแคบสุดของห้องนอนควรกว้างไม่น้อยกว่า 2.5 เมตร
– ความสูงไม่น้อยกว่า 2.6 เมตร
– มีพื้นที่ภายในห้องไม่น้อยกว่า 8 ตารางเมตร
– มีหน้าต่างหรือช่องระบายอากาศไม่น้องกว่า 10% ของพื้นที่ห้องทั้งหมด
ใครที่วางแผนสร้างบ้านอยู่ควรยึดรายละเอียดข้างต้นไว้เป็นขนาดห้องนอนมาตรฐานของตัวเอง เพื่อให้รู้ว่าห้องนอนที่มีพื้นที่เล็กกว่านี้ถือว่าผิดกฎหมายได้
7.ไม่สามารถสร้างบ้านชิดรั้วได้
หากต้องการสร้างบ้านชิดมากที่สุด ต้องเป็นผนังทึบและต้องห่างจากรั้ว 50 เซนต์ติเมตรจากแนวเขตที่ดิน
กฎหมายระยะร่น หรือระยะความห่าง ที่ว่างเว้นของการก่อสร้างอาคาร มีหลายรายละเอียดที่ควรรู้ไว้ก่อนสร้างบ้าน
กฎหมายระยะร่น สำหรับการสร้างบ้าน หรือที่เรียกแบบเข้าใจง่ายๆ คือระยะความห่าง ที่ว่างเว้น ของการก่อสร้างบ้านตามที่กฎหมายควบคุมอาคารกำหนดไว้ ว่าจะต้องมีระยะเท่าไหร่ถึงจะเป็นระยะที่เหมาะสม ปลอดภัย และถูกต้องตามกฎหมาย
หากใครที่กำลังคิดที่จะสร้างบ้านและกำลังหาบริษัท รับสร้างบ้าน แต่ยังไม่รู้ว่าในการสร้างบ้านนั้นมีข้อจำกัดอยู่หลายประการในแง่ของกฎหมายหลายๆ ข้อ ที่เรายังไม่รู้ วันนี้แลนดี้โฮม ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายระยะร่น ฉบับรวบรัดกระชับรายละเอียดให้เข้าใจง่ายมากยิ่งขึ้น
สร้างบ้านชิดรั้วบ้านได้ แต่ผนังบ้าน รั้วต้องปิดทึบ
กรณีที่สร้างบ้าน ถ้าเกิดมีการต่อเติมบ้านจนทำให้พื้นที่บ้านต้องชิดรั้วบ้าน สามารถชิดได้แต่ต้องได้รับการยินยอมจากเพื่อนบ้านเป็นลายลักษณ์อักษร ทางที่ดีถ้าไม่อยากมีเรื่องยืดยาวและเป็นปัญหา ให้เว้นระยะห่างตัวบ้านจากรั้วบ้านหรือแนวดิน ไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร แต่ยังคงต้องเป็นผนังทึบเช่นเดิม
- รับโนเวทบ้านเก่าให้เหมือนใหม่